บทความ

รวมคำศัพท์โลจิสติกส์ 1000 คำ

รวมคําศัพท์โลจิสติกส์ 1,000 คํา

โลจิสติกส์ คืออะไร?

โลจิสติกส์ (Logistics) คือ กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการวางแผน ดำเนินงาน และควบคุมการเคลื่อนย้ายสินค้า วัตถุดิบ และทรัพยากรอื่นๆ จากจุดเริ่มต้นไปยังจุดปลายทาง โดยให้บริการที่มีคุณค่าแก่ลูกค้า โลจิสติกส์เป็นส่วนสำคัญของธุรกิจทุกประเภท เช่น การผลิต การค้าส่ง การค้าปลีก และการบริการ ซึ่งเป็นการทำให้สินค้าและบริการสามารถเคลื่อนย้ายไปยังตลาดและผู้บริโภคได้อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็วที่สุด

คําศัพท์โลจิสติกส์ 1,000 คำ

คำศัพท์ที่ทรงพลังในด้านโลจิสติกส์! ในบทความนี้เราจะสำรวจและรวบรวมคำศัพท์ที่สำคัญที่สุดในโลกของการจัดการโลจิสติกส์ 1000 คำ เพื่อช่วยเสริมสร้างความเข้าใจและประสบการณ์ในวงการธุรกิจและโลกอุตสาหกรรมที่เติบโตอย่างรวดเร็วอยู่ตลอดเวลา มาติดตามและค้นพบคำศัพท์ที่น่าสนใจด้วยกัน! เหมาะอย่างมาก สำหรับกลุ่มผู้ประกอบการหรือผู้ที่มีความสนใจบริการด้านโลจิสติกส์

Noคำศัพท์ความหมาย
1Actual Weight น้ำหนักจริงของสินค้า
2Airfreightการขนส่งสินค้าทางอากาศ
3Airlineสายการบิน
4Amendmentsการแก้ไข/เปลี่ยนแปลงเอกสารสำคัญ เช่น B/L, AWB
5Air Way Bill (AWB)ใบตราส่งสินค้าทางอากาศ
6 Bill of Lading (B/L)ใบตราส่งสินค้าทางเรือ

7 Bunker Adjustment Factor (BAF)ค่าชดเชยภาระ ราคาน้ำมันเชื้อเพลิงที่มีการปรับตัว
8Bonded Warehouseคลังสินค้าทัณฑ์บน ยกเว้นการเก็บอากร
9Booking Confirmationเอกสารยืนยันการจองระวาง
10Break Bulkเรือสำหรับบรรทุกสินค้าขนาดใหญ่
11Bulkเรือสำหรับบรรทุกสินค้าแบบเทกอง
12Currency Adjustment Factor (CAF)ค่าความผันผวนของสกุลเงิน
13Cargo Insuranceการประกันภัยสินค้าขนส่ง
14Carrier ↔ Liner/Airlineสายเรือ / สายการบิน
15CFS ↔ Container Freight Station ค่าธรรมเนียมการโหลดสินค้า
16CIC ↔ Container Imbalance Chargeค่าธรรมเนียมความผันผวนของตู้คอนเทนเนอร์
17Co-Loader ตัวแทนโหลดสินค้า
18COA ↔ Certificate of Analysis ใบรายงานผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพชีววัตถุ ซึ่งจะระบุ Product Name, Batch Number & Lot No., Manufacturing Date, Expiration Date
19Consignee ↔ Importerผู้นำเข้าสินค้า
20Consolidatorการขนส่งแบบรวมตู้สินค้า
21Container Shipsเรือขนส่งด้วยระบบตู้คอนเทนเนอร์
22Container Sizeขนาดของตู้คอนเทนเนอร์
23Container Typeประเภทตู้คอนเทนเนอร์
24Cubic Meter ↔ CBM.หน่วยวัด ลูกบาศก์เมตร ใช้ในการขนส่งสินค้า
25Customs Broker ตัวแทนผ่านพิธีการศุลกากร
26Customs Clearanceการดำเนินผ่านพิธีการศุลกากร
27D/O ↔ Delivery Order เอกสารปล่อยสินค้าขาเข้า
28Demurrage Chargeค่าเสียเวลา ที่ต้องชำระให้เจ้าของตู้คอนเทนเนอร์ กรณี ตู้ค้างอยู่ในท่าเรือเกินกว่าระยะเวลาที่กำหนดไว้ (ไม่มาเคลียร์ตู้ออกไป)
29Detention Chargeค่าเสียเวลา ที่ต้องชำระให้เจ้าของตู้คอนเทนเนอร์ กรณี ตู้อยู่นอกท่าเรือเกินกว่าระยะเวลาที่กำหนดไว้ (ไม่นำตู้มาคืน)
30Dimensionขนาดบรรจุภัณฑ์ กว้าง x ยาว x สูง
31Door to Doorการขนส่งสินค้าแบบเหมาจ่าย
32EBS ↔ Emergency Bunker Surchargeค่าน้ำมันปรับเพิ่ม ทางเรือ
33ETA ↔ Estimate Time Arrival วันที่เรือ/เครื่องบินถึงปลายทาง
34ETD ↔ Estimate Time Departureวันที่เรือ/เครื่องบินออกจากต้นทาง
35FAC ↔ Facilities Charge ค่าอำนวยความสะดวก ในท่าเรือ
36FAF ↔ Fuel Adjustment Factorค่าชดเชยภาระ ราคาน้ำมันเชื้อเพลิงที่มีการปรับตัว
37FAK ↔ Freight All Kindค่าระวางสำหรับการขนส่งสินค้าทุกประเภท (สินค้าทั่วไป)
38FCL ↔ Full container loadการขนส่งสินค้าแบบเต็มตู้
39FDA ↔ Food & Drug administrationสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
40Feeder ↔ Feeder Vesselเรือลำเลียงตู้ นิยมเรียกว่า “เรือลูก”
41FEU ↔ Forty foot Equivalant Unit ตู้คอนเทนเนอร์ 40 ฟุต
42Free time ระยะเวลาปลอดค่าใช้จ่าย การพักสินค้าในท่าเรือ/ท่าอากาศยาน
43Freight Collectค่าระวางชำระที่ปลายทาง
44Freight Forwarderผู้รับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ
45Freight Prepaidค่าระวางชำระที่ต้นทาง
46Fumigationการรมยาวัสดุบรรจุภัณฑ์ที่ทำจากไม้ เพื่อกำจัดศัตรูพืช
47Gross Weight ↔ G.W.น้ำหนักของสินค้า รวมบรรจุภัณฑ์
48HS Code (Harmonized System Code)ระบบตัวเลขสากล 6 หลัก ที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้จำแนกแยกประเภทสินค้าในโลกของเราให้เป็นระบบเดียวกัน ซึ่งได้รับการพัฒนาโดย World Customs Organization (องค์การศุลกากรโลก)
49IceBreaker Shipsเรือตัดน้ำแข็ง
50Incoterms ข้อตกลงในการส่งมอบสินค้าระหว่างประเทศ
51Invoice ↔ Commercial Invoiceเอกสารแสดงรายการสินค้า และราคา
52ISF ↔ Importer Security Filing (10+2) ชื่อที่ใช้เรียก วิธีการ submit ข้อมูลก่อนการส่งออกสินค้าทางเรือไปยังประเทศสหรัฐอเมริกา หรือ ที่เราเรียกกันว่า ISF 10+2 ซึ่งจะต้องทำการส่งข้อมูลให้กับ U.S. Customs and Border Protection (CBP) ก่อนตู้สินค้าจะขึ้นเรือไปยังสหรัฐอเมริกา ไม่น้อยกว่า 24 ชม. (โดย 10 รายการเป็นข้อมูลจาก Importer และอีก 2 รายการ จาก Carrier)
53L/C ↔ Letter of Credit การชำระเงินในการค้าระหว่างประเทศที่มีธนาคารเป็นตัวกลาง
54LCL ↔ Less than container loadการขนส่งสินค้าแบบไม่เต็มตู้
55Liner สายเรือ
56Local Chargeค่าธรรมเนียมภาวระหน้าท่า เช่น THC, CFS
57Lowbase (Lowbed) – Lowboy Trailer รถพ่วงพื้นต่ำที่ใช้ขนส่งยานพาหนะหนัก
58LSS ↔ Low Sulphur Surchargeค่าธรรมเนียมเชื้อเพลิงกำมะถันต่ำ จากมาตรการบังคับให้เรือทุกลำต้องใช้เชื้อเพลิงที่ลดการปล่อยก๊าซซัลเฟอร์ไม่เกิน 0.5% จากเดิมที่กำหนดไว้ระดับ 3.5% เพื่อรักษาสิ่งแวดล้อม โดยประกาศใช้จากทางองค์การทางทะเลระหว่างประเทศ(International Maritime Organization : IMO)
59Manifestบัญชีรายการสินค้า-ผู้โดยสาร ซึ่งบรรทุกมากับเรือหรือเครื่องบิน ที่สำแดงต่อทางศุลกากร
60MSDS ↔ Material Safety Data Sheetเอกสารที่แสดงข้อมูลต่าง ๆ ของสารเคมี เพื่อให้การดำเนินการเกี่ยวกับสารเคมีนั้นเป็นไปอย่างถูกต้องและปลอดภัย สำหรับ “ข้อมูลการขนส่ง” จะอยู่ในหัวข้อที่ 14 ซึ่งจะแสดง Class, UN number, Flash point และ ระดับของ Pakaging เป็นต้น
61Net Weight ↔ N.W. น้ำหนักของสินค้า ไม่รวมบรรจุภัณฑ์
62On Board Dateวันเรือออกจากท่าเรือต้นทาง
63Packingการทำบรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้า-ส่งออก
64Packing Listเอกสารแสดงรายการบรรจุภัณฑ์
65Partial Shipment การแบ่งส่งหรือการทยอยส่งสินค้า
66PCS ↔ Port Congestion Surcharge ค่าภาระความหนาแน่ของท่าเรือ
67Penalty charge ค่าปรับ
68Port of Discharge ↔ POD ท่าเรือปลายทาง
69Port of Loading ↔ POLท่าเรือต้นทาง
70Reverse Logistics ↔ โลจิสติกส์ย้อนกลับกระบวนการจัดการสินค้าย้อนกลับจากลูกค้ามายังผู้ผลิต ไม่ว่าจะเป็นการเรียกกลับสินค้าคืน สินค้าเสียหาย สินค้าไม่ได้มาตรฐาน หรือ สินค้าหมดอายุใช้งาน
71Ro-Ro ↔ Roll-on Roll-off เรือสำหรับบรรทุกสินค้าที่มีล้อ
72Sailing Scheduleกำหนดการเดินเรือ
73Sea Freight การขนส่งสินค้าทางเรือ หรือทางทะเล
74Seal ↔ Container Sealซีลล็อคตู้คอนเทนเนอร์
75SeaPortท่าเรือเดินทะเล/เมืองท่า
76Sea Waybill ↔ SWBใบตราส่งสินค้าทางเรือ ซึ่งใช้ปล่อยสินค้าที่ปลายทางได้
77SI ↔ Shipping Instruiction หรือ Shipping Particular เอกสารจองเรือ ซึ่งจัดทำโดยผู้ส่งออก เพื่อแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับสินค้า ส่งให้สายเรือใช้จัดทำใบตราส่งสินค้า (ฺB/L) ต่อไป
78STS ↔ Status Charge ค่าเปลี่ยนสถานะ เรียกเก็บสำหรับการนำเข้าแบบ LCL?
79Shipper ↔ Exporterผู้ส่งออกสินค้า
80Shipping Line สายการเดินเรือ
81Shipping Marks เครื่องหมายและเลขหมายหีบห่อ
82Surrender B/L การเปลี่ยนสถานะ B/L เพื่อสั่งปล่อยสินค้าปลายทาง โดยไม่ใช้ Original B/L
83T/T ↔ Telegraphic Transfer การชำระเงินค่าสินค้าโดยตรงด้วยการโอนเงิน?
84Tanker Ships เรือบรรทุกของเหลว
85Telex Releaseคำสั่งอนุญาตปล่อยสินค้าโดยไม่ต้องใช้ Original B/L จะเกิดขึ้นหลังจากการแจ้ง Surrender B/L
86Term Of Payment เงื่อนไขการชำระเงิน สำหรับการส่งสินค้าระหว่างประเทศ เช่น T/T, L/C
87TEU ↔ Twenty foot Equivalant Unitตู้คอนเทนเนอร์ 20 ฟุต
88THC ↔ Terminal Handling Chargeค่าธรรมเนียมในการใช้ท่าเรือ/ท่าอากาศยาน
89Transhipment การถ่ายลำเรือ
90Transit time ระยะเวลาในการขนส่งจากต้นทางถึงปลายทาง
91Vessel ↔ Mother Vesselเรือเดินสมุทรขนาดใหญ่ นิยมเรียกว่า “เรือแม่”
92VGM ↔ Verified Gross Mass การรับรอง น้ำหนักรวมของตู้คอนเทนเนอร์เมื่อบรรจุสินค้าเสร็จเรียบร้อยแล้ว ซึ่งจะต้องแยกแสดงท้้งน้ำหนักตู้ฯ และ น้ำหนักสินค้า โดยผู้ส่งออกมีหน้าที่จะต้อง Submit VGM ให้กับทางสายเรือก่อน Cut-off time อย่างน้อย 24 ชั่วโมง
93Volume Weight น้ำหนักที่คิดจากปริมาตรของสินค้า ซึ่งโดยปกติจะใช้เกณฑ์ ทางเรือ (1คิวบิกเมตร = 1,000กิโลกรัม), ทางแอร์ (6000 คิวบิกเซนติเมตร = 1กิโลกรัม)

การใช้คำศัพท์โลจิสติกส์เหล่านี้จะช่วยให้ธุรกิจของคุณเติบโตอย่างมั่นคงและยั่งยืนไปพร้อมกับเส้นทางการพัฒนาที่ไม่หยุดนิ่งของอุตสาหกรรมธุรกิจและโลกที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา!

บริการรับจด อย. อาหาร

รับจด อย. อาหาร ขอ อย. สินค้านำเข้า

(เพิ่มเติม…)

NMPA/CFDA กับ GACC ต่างกันอย่างไร

หลายๆคนคงเคยสงสัยว่า NMPA กับ GACC ต่างกันอย่างไร และต้องขอใบอนุญาตทั้งคู่หรือไม่ เราจะมาหาคำตอบกัน! (เพิ่มเติม…)

จด อย. ราคาถูก มีจริงไหม?

รับจด อย. ราคาถูก มีจริงไหม?

หลายๆคนคงเคยสงสัยว่า การจด อย. ราคาถูกมีจริงไหม เพราะว่าว่าเมื่อไปหาข้อมูลตามที่ต่างๆ มีราคาถูกจนถึงค่อนข้างแพง เราจะมาหาคำตอบกัน!

(เพิ่มเติม…)

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการโฆษณาอาหาร

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการโฆษณาอาหาร

(เพิ่มเติม…)

คำและข้อความโฆษณาต้องห้าม!!! มีลักษณะอย่างไร เจ้าของแบรนด์ควรรู้!

คำและข้อความโฆษณาต้องห้าม!!! มีลักษณะอย่างไร เจ้าของแบรนด์ควรรู้!

(เพิ่มเติม…)

ใบอนุญาตโฆษณา ฆอ. ฆพ. ฆท. คืออะไร

ใบอนุญาตโฆษณา ฆอ. ฆพ. ฆท. คืออะไร?

สวัสดีค่ะ  วันนี้คุณมิ้น ขอนำเสนอข้อมูลดีๆ ที่มีประโยชน์ ที่ผู้ประกอบการหรือเจ้าของแบรนด์สินค้าหลายคนอาจจะยังไม่ทราบ หรือคนที่กำลังหาข้อมูลเกี่ยวกับการ ขอใบอนุญาตโฆษณา ฆอ.  ฆพ.  ฆท. ว่าการขออนุญาตโฆษณาแต่ละประเภทคืออะไร? มีข้อดี ข้อเสียอย่างไรบ้าง ทำไมต้องขออนุญาตด้วยล่ะ วันนี้จะพาไปไขข้อสงสัยกันให้กระจ่างกันเลย

(เพิ่มเติม…)

ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ต้องมีเครื่องหมาย อย.

4 ประเภทผลิตภัณฑ์ที่ “ไม่ต้องมีเครื่องหมาย อย.” 📢

ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ต้องมีเครื่องหมาย อย. เคยสงสัยกันไหมคะว่า ผลิตภัณฑ์บางชนิดนั้นมีเครื่องหมาย อย. แต่บางชนิดนั้นกับไม่มีซึ่งเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด  เพราะฉะนั้นทุกครั้งที่เราเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ เราควรที่จะเช็คและตรวจสอบเครื่องหมายให้ดีก่อน เพื่อป้องกันอันตรายที่ส่งผลเสียต่อสุขภาพที่จะตามมา 

(เพิ่มเติม…)

ขอใบอนุญาตทำงาน Work Permit ต้องเตรียมอะไรบ้าง ?

ถ้าต้องเดินทางไปทำงานต่างประเทศ เราจะต้องมีใบเบิกทางอย่าง work permit หรือใบอนุญาตทำงาน ซึ่งใบนี้นั้นจะออกให้กับต่างด้าวหรือคนต่างประเทศที่ประสงค์เข้ามาทำงาน เพื่อประกอบธุรกิจ กิจการ หรือ ลูกจ้างในสถานประกอบการในไทย นอกจากนั้นชาวต่างชาติจะต้องยื่นขอวีซ่าประเภทธุรกิจ หรือ Non-Immigrant Visa ”B” ควบคู่ไปกับ ใบอนุญาตทำงาน (Work Permit) เพื่อการทำงานที่ถูกต้องตามกฏหมาย เรามาดูกันสิว่าต้องมีคุณบัติใดบ้างและเอกสารใดบ้างที่เราควรเตรียมให้พร้อมเพื่อง่ายและสะดวกต่อเจ้าหน้าที่ในการยื่นขอใบอนุญาติ

(เพิ่มเติม…)

เลือกประเภทวีซ่าให้เหมาะกับวัตถุประสงค์

เลือกประเภทวีซ่าให้เหมาะกับจุดประสงค์

จะเดินทางไปต่างประเทศทั้งที สิ่งที่ต้องมีและขาดไม่ได้เลยนั่นก็คือพาสปอร์ตใช่ไหมคะ แต่! บางประเทศมีแค่พาสปอร์ตอย่างเดียวไม่ได้นะ จะต้องมีวีซ่าเพิ่มเข้ามาด้วยค่ะ วันนี้เราจะพาทุกคนไปทำความรู้จักกับวีซ่าประเภทต่างๆ เพื่อให้ง่ายต่อการยื่นคำร้องขอรับวีซ่า  อีกทั้งกำหนดระยะเวลาและขอบเขตของจุดประสงค์ได้อย่างชัดเจนค่า 

(เพิ่มเติม…)

ผลิตภัณฑ์ที่ต้องมีและไม่ต้องมีเครื่องหมาย อย.

เคยสงสัยกันไหมครับว่า ผลิตภัณฑ์บางชนิดนั้นมีเครื่องหมาย อย. แต่บางชนิดนั้นกับไม่มี ยกตัวอย่างเช่น ขนบขบเคี้ยวมี แต่ยาแก้ปวดนั้นกับไม่มีทั้ง ๆ ที่ผลิตภัณฑ์ทั้งสองอย่างนี้ สามารถรับประทานได้เช่นกัน 

โดยที่ยาและอาหารนั้น จัดเป็นผลิตภัณฑ์สุขภาพ ซึ่งผลิตภัณฑ์สุขภาพนั้นจะมีทั้งแบบมีและไม่มีเครื่องหมาย อย. โดยแบ่งหมวดหมู่ได้เป็นดังนี้ 

(เพิ่มเติม…)

ตำแหน่งเลข อย./เลขที่จดแจ้ง คืออะไร และ บอกอะไรกับเรา ?

ตำแหน่งเลข อย./เลขที่จดแจ้ง คืออะไร และ บอกอะไรกับเรา ?

หลังจากที่เราได้รู้กันแล้วว่า มีผลิตภัณฑ์ไหนบ้างที่ต้องมีและไม่มีเครื่องหมายอย. หลายคนเคยสงสัยกันว่า ตัวเลขเยอะๆ ในเครื่องหมายอย. นั้นคือเลขอะไร ซึ่งตัวเลขเยอะๆ ที่ปรากฎอยู่นั้นเรียกว่า “เลขสารบนอาหาร” จะเป็นตัวเลข 13 หลักที่แสดงอยู่บนเครื่องหมายอย. ซึ่งเลขเหล่านี้จะเป็นเลขที่ระบุข้อมูลสำคัญ ดังนี้

(เพิ่มเติม…)

สงใสไหมนะ เครื่องหมายอย. คืออะไร

อย. คืออะไร

หลายๆคนคงเคยเห็นเครื่องหมาย อย. ผ่านตากันมาบ้างแล้ว ไม่ว่าจะอยู่บนเครื่องดื่ม ซองขนม ผลิตภัณฑ์ที่กินและใช้ สงสัยกันล่ะสิว่าเครื่องหมาย อย. นั้นคืออะไร มีประโยชน์อย่างไรกับสินค้าของเรา วันนี้เราจะพาทุกคนไปทำความรู้จักกับเครื่องหมายนี้ ก่อนอื่นเราต้องรู้จักก่อนว่า อย. นั้นคืออะไร ไปดูกัน!

(เพิ่มเติม…)

โปรแกรมฝึกงาน intbizth

ฝึกงานกับ intbizTH น้องๆ จะได้ฝึกอะไรบ้าง

เนื่องจากบริษัทเราส่งเสริมการฝึกงานของน้องๆ นศ. ไม่ว่าจะอยู่ปีไหน เพราะเราเชื่อว่าประสบการณ์จริงคือใบผ่านทางสู่ชีวิตการทำงานที่ดี

สำหรับใครที่สนใจ สามารถสมัครได้ที่ : เว็บไซต์ เด็กฝึกงาน.com หรือผ่านไลน์ของบริษัทได้เลยค่า

(เพิ่มเติม…)

ทําเว็บขายของ ด้วย Wordpress

ทำเว็บขายของ เว็บไซต์ E-Commerce ด้วย WordPress

ในยุคที่หน้าร้านมีคนเข้าน้อยกว่าหน้าเว็บ การมีเว็บไซต์ขายของ (e-commerce) เป็นของตัวเอง ทำให้ได้เปรียบมากกว่าร้านอื่นๆอย่างมาก ซึ่งจะลงทุนทำเว็บราคาแพง สูงลิบไปทำไม ในเมื่อ WordPress (ระบบเว็บไซต์สำเร็จรูป) มีทุกอย่างที่คุณต้องการ และทุกอย่างที่เว็บชั้นนำมี

สำหรับใครที่ยังไม่รู้จักเว็บไซต์ WordPress เข้าไปดูได้ที่ : เว็บไซต์ WrodPress

(เพิ่มเติม…)

สายงานโปรแกรมเมอร์

Programmer : สายอาชีพ โปรแกรมเมอร์ มีตำแหน่งอะไรบ้าง

อาชีพ โปรแกรมเมอร์ ทำอะไรบ้าง ?

ลักษณะงานของโปรแกรมเมอร์ จะทำหน้าที่ นำข้อมูลการออกแบบรายละเอียดการวางโครงสร้างระบบคอมพิวเตอร์ จากนักวิเคราะห์ระบบงาน มาเขียนเป็นโปรแกรมต่าง ๆ ซึ่งจะมีภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมจะแตกต่างกันไป อย่างเช่นภาษา JAVA,JavaScript,PHP,C#,Python และ ภาษาอื่นๆอีกมากมาย (เพิ่มเติม…)

UI UX หลักการออกแบบแอพพลิเคชั่น

UI Design : หลักการออกแบบแอพพลิเคชั่น ที่ต้องรู้ !!

การออกแบบแอปพลิเคชั่นและเว็บไซต์ มีเรื่องมากมายที่ทำให้ดีไซน์เนอร์ปวดหัว เพราะมันไม่ใช่แค่ความสวยงาม แต่คือการออกแบบเพื่อตอบโจทย์การใช้งานของผู้ใช้ให้มากที่สุด และสิ่งที่เราจะพูดถึงในบทความนี้คือ “ลายแทง สำหรับนักออกแบบ” ก่อนลงมือพัฒนาจริง (เพิ่มเติม…)

Responsive Web Design การออกแบบเว็บไซต์แนวใหม่ที่กำลังมาแรง

การใช้งานอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในตอนกลางคืนอาจจะกลายเป็นกิจกรรมส่งท้ายวันของใครหลายๆ คนไปแล้วหลายๆ คนอาจจะยังไม่ทราบว่าการเล่นโทรศัพท์ในตอนกลางคืนนั้นเป็นอันตรายกับสมองเป็นอย่างยิ่งเลยล่ะครับ (เพิ่มเติม…)